เทศบาลตำบลศรีเชียงใหม่ รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นพนักงานเทศบาล พ.ศ. 2556 (26 ก.ค.56 - 16 ส.ค.56)
หน่วยงาน / องค์กร
เทศบาลตำบลศรีเชียงใหม่ อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย
รายละเอียด
ประกาศเทศบาลตาบลศรีเชียงใหม่
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นพนักงานเทศบาล
พ.ศ. ๒๕๕๖
.............................................
ด้วยเทศบาลตำบลศรีเชียงใหม่ อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย จะดาเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นพนักงานเทศบาล จานวน ๕ ตาแหน่ง ๗ อัตรา อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕ และมาตรา ๒๓ วรรคท้าย แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ประกาศคณะกรรมการพนักงานเทศบาลจังหวัดหนองคาย เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการคัดเลือกโดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นพนักงานเทศบาล พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ประกอบกับมติคณะกรรมการพนักงานเทศบาลจังหวัดหนองคาย ในการประชุมครั้งที่ ๕/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ และครั้งที่ ๖/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๖ มีมติเห็นชอบให้ดาเนินการเปิดสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นพนักงานเทศบาล จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นพนักงานเทศบาล ในตาแหน่งต่างๆ ดังต่อไปนี้
๑. ตาแหน่งที่จะดาเนินการรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นพนักงานเทศบาล ดังนี้
ก. สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑
๑ ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการ ๑ จานวน ๑ อัตรา
ข. สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๒
๑. ตาแหน่ง เจ้าพนักงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ๒ จานวน ๑ อัตรา
ค. สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓
๑. ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร ๓ จานวน ๑ อัตรา
๒. ตาแหน่ง พยาบาลวิชาชีพ ๓ จานวน ๒ อัตรา
๓. ตาแหน่ง นักพัฒนาชุมชน ๓ จานวน ๒ อัตรา
๒. คุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งของผู้มีสิทธิสมัครสอบแข่งขัน
๒.๑ คุณสมบัติทั่วไป
ผู้สมัครสอบแข่งขันต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ ๖ แห่งประกาศคณะกรรมการพนักงานเทศบาลจังหวัดหนองคาย เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของเทศบาล ลงวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน ดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ต่ากว่าสิบแปดปีบริบูรณ์
(๓) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยด้วยความบริสุทธิ์ใจ
(๔) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งข้าราชการทางการเมือง
(๕) ไม่เป็นผู้มีร่างกายทุพพลภาพ จนไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ไร้ความสามารถ หรือ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามที่คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาลประกาศกาหนด ดังนี้
(ก) โรคเรื้อนในระยะติดต่อหรือในระยะที่ปรากฏอาการเป็นที่รังเกียจแก่สังคม
(ข) วัณโรคในระยะอันตราย
(ค) โรคเท้าช้างในระยะที่ปรากฏอาการที่น่ารังเกียจแก่สังคม
(ง) โรคติดยาเสพติดให้โทษ
(จ) โรคพิษสุราเรื้อรัง
(๖) ไม่เป็นผู้อยู่ระหว่างถูกสั่งให้พักราชการ หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ตามมาตรฐานทั่วไป หรือหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของพนักงานเทศบาล ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น หรือตามกฎหมายอื่น
(๗) ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดี จนเป็นที่รังเกียจของสังคม
(๘) ไม่เป็นกรรมการพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
(๙) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
(๑๐) ไม่เป็นผู้เคยต้องรับโทษจาคุก โดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เพราะกระทาความผิดทางอาญา เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้กระทาโดยประมาท หรือ ความผิดลหุโทษ
(๑๑) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ
(๑๒) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก หรือปลดออก เพราะกระทาผิดวินัยตามมาตรฐานทั่วไป หรือหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของพนักงานเทศบาลตามกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น หรือตามกฎหมายอื่น
(๑๓) ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก เพราะกระทาผิดวินัยตามมาตรฐานทั่วไป หรือหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของพนักงานเทศบาลตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น หรือตามกฎหมายอื่น
(๑๔) ไม่เป็นผู้เคยกระทาการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นพนักงานเทศบาล ซึ่งขาดคุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้าม ตามข้อ ๖ คณะกรรมการดาเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นพนักงานเทศบาล อาจพิจารณายกเว้นให้สามารถเข้ารับราชการเป็นพนักงานเทศบาลได้ ในกรณีดังนี้
(๑) ผู้ซึ่งขาดคุณสมบัติตามข้อ ๖ (๗) (๙) (๑๐) และ (๑๔)
(๒) ผู้ซึ่งขาดคุณสมบัติตามข้อ ๖ (๑๑) หรือ (๑๒) ซึ่งได้ออกจากงานหรือราชการเกินสองปีแล้ว และมิใช่กรณีออกเพราะกระทาผิดในกรณีทุจริตต่อหน้าที่
(๓) ผู้ซึ่งขาดคุณสมบัติตามข้อ ๖ (๑๓) ซึ่งได้ออกจากงานหรือราชการ เกินสามปีแล้ว และมิใช่กรณีออกเพราะกระทาผิดในกรณีทุจริตต่อหน้าที่
การพิจารณายกเว้นการขาดคุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามดังกล่าวคณะกรรมการดาเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นพนักงานเทศบาล อาจพิจารณาถึงความจาเป็นและเป็นประโยชน์ของราชการที่จะได้รับ โดยมติของคณะกรรมการดาเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นพนักงานเทศบาล ในการประชุมปรึกษายกเว้นคุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามดังกล่าว จะพิจารณาลงมติซึ่งต้องได้คะแนนเสียงสี่ในห้าของจานวนกรรมการในที่ประชุม และการลงมติให้กระทาโดยลับ
สาหรับพระภิกษุ หรือสามเณร ไม่สามารถสมัครสอบและไม่อาจให้เข้าสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็นพนักงานเทศบาลได้ ทั้งนี้ เป็นไปตามนัยหนังสือสานักงาน ก.พ. ที่ นร ๐๙๐๔/ว ๙ ลงวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๐ หนังสือสานักงาน ก.ท. ด่วนมากที่ มท ๐๓๑๑/ว ๕๖๒๖ ลงวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๒๑ และตามความในข้อ ๕ ของคาสั่งมหาเถรสมาคม ลงวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๒๑
๒.๒ คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งของผู้มีสิทธิสมัครสอบแข่งขัน
ผู้สมัครสอบแข่งขันต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งต่างๆ ตามที่กาหนด แนบท้ายประกาศนี้ (รายละเอียดตามภาคผนวก ก)
๓. อัตราเงินเดือนที่จะได้รับ
๓.๑ ผู้ที่สอบแข่งขันได้ และได้รับการบรรจุแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในระดับ ๑ จะได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ คือ อันดับ ท.๑ ขั้น ๖,๐๕๐ บาท
๓.๒ ผู้ที่สอบแข่งขันได้ และได้รับการบรรจุแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในระดับ ๒ จะได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิ ดังนี้
- คุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค/อนุปริญญา ๒ ปีจะได้รับเงินเดือนอันดับ ท.๒ขั้น ๖,๘๐๐ บาท
- คุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จะได้รับเงินเดือน อันดับ ท.๒ ขั้น ๗,๔๖๐ บาท
๓.๓ ผู้ที่สอบแข่งขันได้ และได้รับการบรรจุแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในระดับ ๓ จะได้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิ ดังนี้
- ปริญญาตรี (หลักสูตร ๔ ปี) ต่อจากวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าจะได้รับเงินเดือน อันดับ ท.๓ ขั้น ๘,๓๔๐ บาท
- ปริญญาตรี (หลักสูตร ๕ ปี) ต่อจากวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายเฉพาะปริญญาที่ ก.พ. กาหนดให้ได้รับเงินเดือนตามหลักสูตร ๕ ปี จะได้รับเงินเดือน อันดับ ท.๓ ขั้น ๙,๑๔๐ บาท
๔. วัน เวลา และสถานที่รับสมัครสอบแข่งขัน
กาหนดการรับสมัครสอบแข่งขัน ตั้งแต่วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ถึงวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๖ (ตั้งแต่เวลา ๐๘.๓๐ ๑๖.๓๐ น.) ในวันและเวลาราชการ ณ ลานจอดรถยนต์เอนกประสงค์เทศบาลตาบลศรีเชียงใหม่ อาเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย และสามารถตรวจสอบรายละเอียดได้ที่เว็บไซด์ www.srichiangmai.go.th
๕. เอกสารและหลักฐานในการสมัครสอบแข่งขัน
ผู้สมัครต้องกรอกข้อความในใบสมัคร และบัตรประจาตัวสอบด้วยลายมือตนเอง และยื่นใบสมัครด้วยตนเองต่อเจ้าหน้าที่รับสมัคร พร้อมเอกสารและหลักฐาน ดังต่อไปนี้
๑) รูปถ่ายหน้าตรงไม่สวมหมวก และไม่ใส่แว่นตาดา ขนาด ๑ นิ้ว ถ่ายครั้งเดียวกันไม่เกิน ๖ เดือน จานวน ๖ รูป และให้ผู้สมัครเขียนชื่อ - สกุล ตาแหน่งที่สมัครหลังรูปถ่ายด้วยตัวบรรจง
๒) สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน และ สาเนาทะเบียนบ้าน พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง อย่างละ ๑ ฉบับ
๓) ระเบียนแสดงผลการเรียนTranscript(ฉบับจริง) กรณีหลักฐานทางการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศให้แนบฉบับที่แปลเป็นภาษาไทย พร้อมสาเนา อย่างละ ๑ ฉบับ
๔) ใบรับรองแพทย์แสดงว่าไม่เป็นโรคที่ต้องห้ามตามกฎ ก.ท. ฉบับที่ ๑๖ (พ.ศ. ๒๕๒๖) ซึ่งออกให้ไม่เกิน ๑ เดือน นับตั้งแต่วันตรวจร่างกาย จานวน ๑ ฉบับ
๕) สาเนาเอกสารอื่น ๆ เช่น ทะเบียนสมรส ใบเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล (ถ้ามี)
- ผู้สมัครที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเป็นลูกจ้างของหน่วยงานราชการต้องมีหนังสือรับรองของผู้บังคับบัญชา เพื่อประกอบการสมัครสอบ
- ผู้สมัครที่เป็นข้าราชการประเภทอื่น หรือข้าราชการส่วนท้องถิ่นอื่นประสงค์จะสมัครสอบแข่งขันในตาแหน่งที่มีระดับไม่สูงกว่าตาแหน่งที่ตนดารงอยู่ และใช้วุฒิเดียวกับตาแหน่งที่ตนดารงอยู่ จะต้องนาหนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชา ซึ่งเป็นผู้มีอานาจบรรจุแต่งตั้งอนุญาตให้มาสมัครสอบ หากผู้สมัครสอบรายใดไม่นาหนังสืออนุญาตดังกล่าวมายื่นพร้อมใบสมัคร จะไม่มีสิทธิสมัครสอบ หรือถ้าเป็นผู้สอบแข่งขันได้ จะถูกยกเลิกการขึ้นบัญชี ผู้สอบแข่งขันได้
ให้ผู้สมัครสอบตรวจสอบคุณสมบัติและรับรองตนเอง สามารถสมัครได้คนละ ๑ ตาแหน่ง ถ้าสมัครเกิน ๑ ตาแหน่ง คณะกรรมการจะเป็นผู้พิจารณาและอนุญาตให้เข้าสอบแข่งขันได้เพียงตาแหน่งเดียวเท่านั้น
๖. ค่าธรรมเนียมการสมัครสอบแข่งขัน ผู้สมัครสอบแข่งขันต้องเสียค่าธรรมเนียมในการสมัครสอบ ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตาแหน่ง (ภาค ข.) และภาคความเหมาะสมกับตาแหน่ง (ภาค ค.) ดังนี้
๖.๑ ตาแหน่งระดับ ๑ ตาแหน่งละ ๑๐๐ บาท
๖.๒ ตาแหน่งระดับ ๒ ตาแหน่งละ ๑๐๐ บาท
๖.๓ ตาแหน่งระดับ ๓ ตาแหน่งละ ๒๐๐ บาท
ค่าธรรมเนียมสอบจะไม่จ่ายคืนให้ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น เว้นแต่จะเสนอให้คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล พิจารณายกเว้นเป็นรายกรณีไป
๗. การประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าสอบ ตารางสอบ สถานที่สอบ และ ระเบียบที่เกี่ยวกับการสอบ
๗.๑ ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิสอบ ในวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๘.๓๐ น.เป็นต้นไป
๗.๒ ประกาศกาหนดวัน เวลา สถานที่สอบ และระเบียบเกี่ยวกับการสอบ วิธีการสอบแข่งขัน ในวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๘.๓๐ น. เป็นต้นไป
โดยประกาศดังกล่าวจะติดประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ณ สานักงานเทศบาลตาบลศรีเชียงใหม่ และสามารถตรวจสอบผ่านเว็บไซด์ www.srichiangmai.go.th
๘. หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขัน หลักสูตรการสอบแข่งขันแบ่งเป็น ๓ ภาค คือ
๘.๑ ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
ทดสอบความรู้ความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์ สรุปเหตุผล ภาษาไทย และความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (ปรนัย)
๘.๒ ภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะสาหรับตาแหน่ง (ภาค ข.) คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนนทดสอบความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ โดยเฉพาะตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานกาหนดตาแหน่งโดยวิธีการสอบข้อเขียน (ปรนัย)
๘.๓ ภาคความเหมาะสมกับตาแหน่ง (ภาค ค.) คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนนทดสอบโดยวิธีการสัมภาษณ์ และหรือภาคปฏิบัติตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
(รายละเอียดตามภาคผนวก ข)
๙. เกณฑ์การตัดสิน ผู้ผ่านการสอบแข่งขันได้ จะต้องเป็นผู้สอบได้คะแนนในภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) และ ภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะสาหรับตาแหน่ง (ภาค ข.) ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๖๐ จึงจะเป็นผู้มีสิทธิสอบในภาคความเหมาะสมกับตาแหน่ง (ภาค ค.) และต้องได้คะแนนในภาคความเหมาะสมกับตาแหน่ง (ภาค ค.) ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๖๐ ด้วย
๑๐. การประกาศผลการสอบแข่งขัน
เทศบาลตาบลศรีเชียงใหม่ จะประกาศรายชื่อผู้สอบแข่งขันได้ โดยเรียงลาดับที่จากผู้ที่สอบได้คะแนนรวมสูงสุดลงมาตามลาดับ ในกรณีที่มีผู้สอบได้คะแนนรวมเท่ากัน ให้ผู้สอบได้คะแนนภาคความเหมาะสมกับตาแหน่ง (ภาค ค.) มากกว่าเป็นผู้อยู่ในลาดับที่สูงกว่า ถ้าได้คะแนนภาคความเหมาะสมกับตาแหน่ง (ภาค ค.) เท่ากัน ให้ผู้สอบได้คะแนนภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสาหรับตาแหน่ง (ภาค ข.) มากกว่าเป็นผู้อยู่ในลาดับที่สูงกว่า ถ้าได้คะแนนภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสาหรับตาแหน่ง (ภาค ข.) เท่ากัน ให้ผู้ที่ได้คะแนนวิชาความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติราชการในภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) มากกว่าเป็นผู้อยู่ในลาดับสูงกว่า
ถ้ายังได้คะแนนเท่ากันอีก ให้ผู้ที่สมัครสอบก่อนเป็นผู้อยู่ในลาดับที่สูงกว่า ทั้งนี้ ให้พิจารณาจากเอกสารในการสมัครสอบ
๑๑. การขึ้นบัญชีและการยกเลิกบัญชีผู้สอบแข่งขันได้
บัญชีผู้สอบแข่งขันได้ให้ใช้ได้ไม่เกิน ๒ ปี นับแต่วันประกาศขึ้นบัญชี แต่ถ้ามีการสอบแข่งขัน อย่างเดียวกันนั้นอีกและได้ขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ใหม่แล้ว บัญชีผู้สอบแข่งขันได้ครั้งก่อนเป็นอันยกเลิก เว้นแต่ ในกรณีที่ได้มีการเรียกตัวผู้สอบแข่งขันได้ผู้ใดให้มารายงานตัวเพื่อรับการบรรจุไปแล้ว ก่อนมีการประกาศขึ้นบัญชี ผู้สอบแข่งขันได้ใหม่ ให้ถือว่าผู้นั้นยังคงมีสิทธิได้รับการบรรจุและแต่งตั้ง แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน ๓๐ วัน นับแต่วันถัดจากวันที่บัญชีผู้สอบแข่งขันได้นั้นมีอายุครบที่ประกาศ หรือวันที่ประกาศขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ใหม่แล้วแต่กรณี
๑๒. การบรรจุและแต่งตั้งผู้สอบแข่งขันได้
ผู้ที่สอบแข่งขันได้ จะได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งที่กาหนดในประกาศรับสมัคร โดยต้องดารงตาแหน่งในเทศบาลตาบลศรีเชียงใหม่ อย่างน้อย ๑ ปี ไม่มีข้อยกเว้น จึงจะสามารถโอน (ย้าย) ไปสังกัดหน่วยราชการอื่นได้ และไม่อนุญาตให้หน่วยงานอื่น ใช้บัญชีเพื่อบรรจุแต่งตั้งได้
เมื่อบรรจุแต่งตั้งครบตามจานวนอัตราที่ว่างแล้ว หากภายหลังมีตาแหน่งว่างลง อาจแต่งตั้ง ผู้สอบแข่งขันได้ที่อยู่ในลาดับถัดไปให้ดารงตาแหน่งได้ แต่ต้องบรรจุและแต่งตั้งเรียงตามลาดับที่ที่สอบแข่งขันได้
ผนวก ก
คุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง ในระดับ ๑ ระดับ ๒ และระดับ ๓
(ท้ายประกาศเทศบาลตาบลศรีเชียงใหม่)
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลเป็นพนักงานเทศบาลตาบลศรีเชียงใหม่
ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๖
.......................................
ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง ดังนี้
๑. ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการ ๑
คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง
ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือเทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ทุกสาขาที่ ก.พ. ก.ค.หรือ ก.ท. รับรอง ซึ่งศึกษาวิชาคอมพิวเตอร์มาไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต หรือผ่านการฝึกอบรมทางด้านการใช้คอมพิวเตอร์จากสถาบันการศึกษาของรัฐหรือเอกชนที่ได้รับการรับรองจากทางราชการหรือหน่วยงานของรัฐที่มีระยะเวลาการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 12 ชั่วโมง
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
๑. มีความรู้ ความชานาญการใช้คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี
๒. มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายว่าด้วยเทศบาล กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายว่าด้วยระเบียบพนักงานเทศบาล และกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๓. มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานธุรการ และงานสารบรรณอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๔. มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๕. มีความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความละเอียดแม่นยา
๒. ตาแหน่ง เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๒
คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง
1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือเทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ทางวิศวกรรมเครื่อง เทคนิควิศวกรรมโยธา เทคนิควิศวกรรมไฟฟูา เทคนิคเครื่องเย็นและปรับอากาศ ช่างเครื่องยนต์ ช่างไฟฟูา ช่างโยธา ช่างก่อสร้าง ช่างกลโรงงาน ช่างเชื่อมและโลหะแผ่น หรือทางอื่นที่ ก.ท.กาหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนี้ได้
2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือเทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ ทางวิศวกรรมเครื่องกล เทคนิควิศวกรรมโยธา เทคนิควิศวกรรมไฟฟูา เทคนิคเครื่องเย็นและปรับอากาศ ทางช่างเครื่องยนต์ ช่างไฟฟูา ช่างโยธา ช่างก่อสร้าง ช่างกลโรงงาน ช่างเชื่อมและโลหะแผ่น หรือทางอื่นที่ ก.ท.กาหนดว่าใช้เป็นคุณเฉพาะสาหรับตาแหน่งนี้ได้
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
๑. ความรู้ในงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๒. มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายว่าด้วยเทศบาล กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายว่าด้วยระเบียบพนักงานเทศบาล และกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานหน้าที่
๓. มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการดับเพลิง งานธุรการทั่วไป และงานสารบรรณอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๔. มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๕. มีความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความละเอียดแม่นยา
๖. มีความสามารถในการให้คาแนะนาเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ
๓. ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร ๓
คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง
ได้รับปริญญาตรี หรือเทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ทางรัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ กฎหมายหรือทางอื่นที่ ก.ท.กาหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนี้ได้
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
๑. ความรู้ในงานทะเบียนและบัตรประจาตัวประชาชนอย่างเหมาะสมแก่การในหน้าที่
๒. มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายว่าด้วยเทศบาล กฎหมายว่าด้วยระเบียบกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมาย กฎ ระเบียบและข้อบังคับอื่นที่ใช้ในหน้าที่
๓. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคมอย่างยิ่งของประเทศไทย
๔. มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๕. มีความสามารถในการศึกษาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหาและสรุปเหตุผล
๔. ตาแหน่ง พยาบาลวิชาชีพ ๓
คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง
๑. ได้รับปริญญาตรี หรือเทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ทางการพยาบาล และได้รับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ สาขาการพยาบาล หรือสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง หรือทางอื่นที่ ก.ท.กาหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนี้ได้
๒. ได้รับปริญญาโท หรือเทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ทางการพยาบาล และได้รับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ สาขาการพยาบาล หรือสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง หรือทางอื่นที่ ก.ท.กาหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนี้ได้
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
๑. มีความรู้ความสามารถในวิชาการพยาบาลอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติหน้าที่
๒. มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายว่าด้วยเทศบาล กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
และกฎหมาย กฎ ระเบียบและข้อบังคับอื่นที่ใช้ในกาปฏิบัติงานในหน้าที่
๓. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งของประเทศไทย
๔. มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๕. มีความสามารถในการศึกษาหาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหา และสรุปเหตุผล
๕. ตาแหน่ง นักพัฒนาชุมชน ๓
คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง
1. ได้รับปริญญาตรีหรือเทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ทุกสาขาวิชาที่ ก.พ. ก.ค. หรือ ก.ท. รับรอง หรือ
2. ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูงบัณฑิตอาสาสมัคร หรือ
3. ได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ทางการพัฒนาชุมชน การบริหาร การปกครอง สังคมวิทยา หรือทางอื่นที่ ก.ท.กาหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนี้ได้
ความรู้ความสามารถที่ต้องการ
๑. มีความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๒. มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมาย กฎ ระเบียบและข้อบังคับอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
3. มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งของ
ประเทศไทย
4. มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
5. มีความสามารถในการศึกษา หาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหาและสรุปเหตุผล
ผนวก ข
หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขัน
(ท้ายประกาศเทศบาลตาบลศรีเชียงใหม่)
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเป็นพนักงานเทศบาล
ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๖
.......................................
สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ และ ระดับ ๒
ก. ตาแหน่งสายงานที่เริ่มต้น ระดับ ๑ จานวน ๑ ตาแหน่ง ดังนี้
๑. ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการ ๑
ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย โดยคานึงถึงระดับความรู้ความสามารถที่ต้องการตามระดับตาแหน่ง ดังนี้
๑.วิชาความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์และสรุปเหตุผล กาหนดคะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน
โดยการสรุปความหรือให้จับประเด็นในข้อความหรือเรื่องราว หรือวิเคราะห์เหตุการณ์หรือสรุปเหตุผล ทางการเมือง เศรษฐกิจหรือสังคม หรือแนวโน้มหรือการเปลี่ยนแปลงที่น่าจะเป็นไปตามข้อมูลหรือสมมุติฐาน ๒.วิชาภาษาไทย กาหนดคะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน
โดยการสรุปความหรือตีความจากข้อความสั้นๆ หรือบทความและให้พิจารณาเลือกใช้ภาษาในรูปแบบต่างๆ จากคาพูดหรือกลุ่มคา ประโยคหรือข้อความสั้นๆ
๓.วิชาความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติราชการ กาหนดคะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน
๓.๑ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่แก้ไขเพิ่มเติม .
๓.๒ พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓.๓ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓.๔ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสาหรับตาแหน่ง (ภาค ข) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย ดังนี้
๑ มีความรู้ในงานธุรการ อย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๒ กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ดังนี้
๒.๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๒.๒ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.๒๕๔๐
๒.๓ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒
๒.๔ พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒
๒.๕ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๒.๖ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓ วิชาความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และเทคโนโลยีสารสนเทศ
๔ เหตุการณ์ปัจจุบัน (การเมือง เศรษฐกิจ สังคม)
ภาคความเหมาะสมกับตาแหน่ง (ภาค ค) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
จะประเมินผู้เข้าสอบเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่ จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทางาน พฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่นของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์
เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จริยธรรม และคุณธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน รวมทั้งสังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น
ข. ตาแหน่งสายงานที่เริ่มต้น ระดับ ๒ จานวน ๑ ตาแหน่ง ดังนี้
๒. ตาแหน่ง เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๒
ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย โดยคานึงถึงระดับความรู้ความสามารถที่ต้องการตามระดับตาแหน่ง ดังนี้
๑.วิชาความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์และสรุปเหตุผล กาหนดคะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน
โดยการสรุปความหรือให้จับประเด็นในข้อความหรือเรื่องราว หรือวิเคราะห์เหตุการณ์หรือสรุปเหตุผลทางการเมือง เศรษฐกิจหรือสังคม หรือแนวโน้มหรือการเปลี่ยนแปลงที่น่าจะเป็นไปตามข้อมูลหรือสมมุติฐาน ๒.วิชาภาษาไทย กาหนดคะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน
โดยการสรุปความหรือตีความจากข้อความสั้นๆ หรือบทความและให้พิจารณาเลือกใช้ภาษาในรูปแบบต่างๆ จากคาพูดหรือกลุ่มคา ประโยคหรือข้อความสั้นๆ
๓.วิชาความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติราชการ กาหนดคะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน
๓.๑ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่แก้ไขเพิ่มเติม .
๓.๒ พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓.๓ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓.๔ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสาหรับตาแหน่ง (ภาค ข) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
ทดสอบแบบข้อเขียนปรนัยมีดังนี้
๑. มีความรู้ในงานปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย อย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๒. กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ดังนี้
๒.๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๒.๒ พระราชบัญญัติปูองกันภัยฝุายพลเรือน พ.ศ.๒๕๒๒ ๒.๓ พระราชบัญญัติปูองกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.2542
๒.๔ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.๒๕๔๐
๒.๕ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒
๒.๖ พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒
๒.๗ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓. วิชาความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และเทคโนโลยีสารสนเทศ
๔. เหตุการณ์ปัจจุบัน (การเมือง เศรษฐกิจ สังคม)
ภาคความเหมาะสมกับตาแหน่ง (ภาค ค) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
จะประเมินผู้เข้าสอบเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่ จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทางาน พฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่นของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จริยธรรม และคุณธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน รวมทั้งสังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น
ค. ตาแหน่งสายงานที่เริ่มต้น ระดับ ๓ จานวน ๓ ตาแหน่ง ดังนี้
๓. ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานงานทะเบียนและบัตร ๓
ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย โดยคานึงถึงระดับความรู้ความสามารถที่ต้องการตามระดับตาแหน่ง ดังนี้
๑.วิชาความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์และสรุปเหตุผล กาหนดคะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน
โดยการสรุปความหรือให้จับประเด็นในข้อความหรือเรื่องราว หรือวิเคราะห์เหตุการณ์หรือสรุปเหตุผลทางการเมือง เศรษฐกิจหรือสังคม หรือแนวโน้มหรือการเปลี่ยนแปลงที่น่าจะเป็นไปตามข้อมูลหรือสมมุติฐาน ๒.วิชาภาษาไทย กาหนดคะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน
โดยการสรุปความหรือตีความจากข้อความสั้นๆ หรือบทความและให้พิจารณาเลือกใช้ภาษาในรูปแบบต่างๆ จากคาพูดหรือกลุ่มคา ประโยคหรือข้อความสั้นๆ
๓.วิชาความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติราชการ กาหนดคะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน
๓.๑ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่แก้ไขเพิ่มเติม .
๓.๒ พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓.๓ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓.๔ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสาหรับตาแหน่ง (ภาค ข) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย มีดังนี้
๑. มีความรู้ในงานบริหารงานทะเบียนและบัตร อย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๒. กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ดังนี้
๒.๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๒.๒ พระราชบัญญัติทะเบียนราษฎร พ.ศ.2535
๒.๓ การจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร
๒.๔ กฎกระทรวงกาหนดการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2547
๒.๕ กฎกระทรวงกาหนดให้คนต่างด้าวปฏิบัติเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2548
๒.๖ กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีกาจัดเก็บข้อมูลทะเบียนราษฎร พ.ศ.2550
๒.๗ พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร(ฉบับที่2) พ.ศ.2551
๒.๘ พระราชบัญญัติบัตรประจาตัวประชาชน(ฉบับที่3) พ.ศ.2554
๒.๙ พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๒.๑๐ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542
๒.๑๑ ระเบียบกระทรวงมหาไทยว่าด้วยวิธีงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2541 และแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่3 พ.ศ.2543
๒.๑๒ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินการเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2547
๒.๑๓ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่9 พ.ศ.2553
๓. วิชาความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และเทคโนโลยีสารสนเทศ
๔. เหตุการณ์ปัจจุบัน (การเมือง เศรษฐกิจ สังคม)
ภาคความเหมาะสมกับตาแหน่ง (ภาค ค) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
จะประเมินผู้เข้าสอบเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่ จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทางาน พฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่นของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จริยธรรม และคุณธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน รวมทั้งสังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น
๔. ตาแหน่ง พยาบาลวิชาชีพ ๓
ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย โดยคานึงถึงระดับความรู้ความสามารถที่ต้องการตามระดับตาแหน่ง ดังนี้
๑.วิชาความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์และสรุปเหตุผล กาหนดคะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน
โดยการสรุปความหรือให้จับประเด็นในข้อความหรือเรื่องราว หรือวิเคราะห์เหตุการณ์หรือสรุปเหตุผลทางการเมือง เศรษฐกิจหรือสังคม หรือแนวโน้มหรือการเปลี่ยนแปลงที่น่าจะเป็นไปตามข้อมูลหรือสมมุติฐาน ๒.วิชาภาษาไทย กาหนดคะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน
โดยการสรุปความหรือตีความจากข้อความสั้นๆ หรือบทความและให้พิจารณาเลือกใช้ภาษาในรูปแบบต่างๆ จากคาพูดหรือกลุ่มคา ประโยคหรือข้อความสั้นๆ
๓.วิชาความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติราชการ กาหนดคะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน
๓.๑ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่แก้ไขเพิ่มเติม .
๓.๒ พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓.๓ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓.๔ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสาหรับตาแหน่ง (ภาค ข) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย มีดังนี้
๑. มีความรู้ในงานพยาบาลอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๒. กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ดังนี้
๒.๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
๒.๒ พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน
๒.๓ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542
๒.๔ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
๒.๕ พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๒.๖ พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
พ.ศ. ๒๕๓๕
๒.๗ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓. วิชาความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และเทคโนโลยีสารสนเทศ
๔. เหตุการณ์ปัจจุบัน (การเมือง เศรษฐกิจ สังคม)
ภาคความเหมาะสมกับตาแหน่ง (ภาค ค) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
จะประเมินผู้เข้าสอบเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่ จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทางาน พฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่นของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จริยธรรม
และคุณธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน รวมทั้งสังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น
๕. ตาแหน่ง นักพัฒนาชุมชน ๓
ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย โดยคานึงถึงระดับความรู้ความสามารถที่ต้องการตามระดับตาแหน่ง ดังนี้
๑.วิชาความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์และสรุปเหตุผล กาหนดคะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน
โดยการสรุปความหรือให้จับประเด็นในข้อความหรือเรื่องราว หรือวิเคราะห์เหตุการณ์หรือสรุปเหตุผลทางการเมือง เศรษฐกิจหรือสังคม หรือแนวโน้มหรือการเปลี่ยนแปลงที่น่าจะเป็นไปตามข้อมูลหรือสมมุติฐาน ๒.วิชาภาษาไทย กาหนดคะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน
โดยการสรุปความหรือตีความจากข้อความสั้นๆ หรือบทความและให้พิจารณาเลือกใช้ภาษาในรูปแบบต่างๆ จากคาพูดหรือกลุ่มคา ประโยคหรือข้อความสั้นๆ
๓.วิชาความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติราชการ กาหนดคะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน
๓.๑ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่แก้ไขเพิ่มเติม .
๓.๒ พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓.๓ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
๓.๔ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖
ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะสาหรับตาแหน่ง (ภาค ข) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย มีดังนี้
๑. มีความรู้ในงานพัฒนาชุมชนได้อย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๒. กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ดังนี้
๒.๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
๒.๒ พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน
๒.๓ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
๒.๔ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
๒.๕ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2548
๒.๖ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
๒.๗ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๓. วิชาความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และเทคโนโลยีสารสนเทศ
๔. เหตุการณ์ปัจจุบัน (การเมือง เศรษฐกิจ สังคม)
ภาคความเหมาะสมกับตาแหน่ง (ภาค ค) กาหนดคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
จะประเมินผู้เข้าสอบเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่ จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทางาน พฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่นของผู้เข้าสอบและจากการสัมภาษณ์ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จริยธรรม และคุณธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน รวมทั้งสังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ และบุคลิกภาพอย่างอื่น เป็นต้น